พระประธานในวิหารวัดเกตุการาม | ลวดลายหลังพระประธาน |
วิหารวัดเกตุด้านหน้า | ด้านข้างของวิหารมีชาวบ้านตั้งแผงให้บูชาวัตถุมงคล |
เจดีย์วัดพระเกตุ ส่วนลวดลายประดับด้วยถ้วยชามเครื่องเคลือบแบบที่นิยมในยุคกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น(คงเป็นช่วงที่ทำการบูรณะครั้งล่าสุด) สังเกตได้จากพระปรางค์วัดอรุณฯ ประดับด้วยถ้วยชาวเคลื่องเคลือบลักษณะเดียวกัน ส่วนที่เชียงใหม่ที่ประดับตกแต่งถ้วยลวดลายของถ้วยชามมีคล้ายกันที่วัดเชตวัน(อยู่แุถวๆท่าแพ) ส่วนฐานเจดีย์เป็นครุฑยุดนาค The base of Pagoda decorate with ceramic as Arun Rajawanaram TempleZ(Bkk.) That was built at the same time, around the early of Rama2. This reign very popular to decorate temple with ceramic. The base is Crut holding the tail of Naga.
This House use to be a school of monk. Built from In and his wife Jean at 2462 B.E. Next the monk don't have a lot number so they moved to learn at the other place. Now use as resident of monks. In and Jean is a merchent and they don't have children.
The west gate opposite to Jansom bridge that people use for crossing The Piig river to Big market or Kad Luang (Varoroj market) in Thai word.(this bridge use for wlking only)
ส่วนประตูทิศตะวันตกนั้นเยื้องกับขัวจันทร์สมที่เป็นสะพานสำหรับคนเดือนข้ามไปกาดหลวง
พิพิธภัณฑ์วัดเกตุ มีของเก่าเยอะส่วนใหญ่มาจากการบริจาค ซึ่งเที่ยวชมอย่างวันเีดียวไม่น่าจบ(เยอะจริงๆ) Musuem of this temple collecting antiques that donated from people.
หอไตรเก่า ทรุดโทรมไปมากน่าจะบูรณะเพราะว่าลายคำสวยจริงๆค่ะ The old Hall Trai.
หอไตรใหม่ ที่สวยสะดุดตาเห็นจะเป็นลายปูนปั้นรูปทรงแปลกๆแบบจีน ถ้าสังเกตดีๆ จะเห็นลายคล้ายกันที่หอทำบุญซึ่งสร้างปี 2553 Another Hall Trai.
ประวัติวัดเกตุ
ประวัติวัดถอดจากจารึกในวัด ดังนี้ เป็นวัดเก่าริมแม่น้ำปิง ตามประวัติวัดสร้าง ปี พ.ศ. ๑๙๒๑ สมัยพระเจ้าสามฝั่งแกนครองราชย์ (พ.ศ.๑๙๕๔-๑๙๘๕) พระธาตุวัดเกตุ เป็นที่ประดิษ์ฐานพระเกศาธาตุ เดิมชาวบ้านเรียกพระธาตุเกศแก้จุฬามณี ถือเป็นการจำลองพระเกศแก้วจุฬามณีบนสวรรค์ชั้นดาวดึงค์ไว้ในโลกมนุษย์ จึงสร้างให้ยอดเอียงเพื่อไม่ให้ยอดชี้ตรงกับองค์ที่อยู่บนสวรรค์เพราะถือว่าไม่สุภาพ นอกจากนี้ตามตำราโบราณ ว่าคนเราเมื่อสิ้นอายุขัย ดวงวิญญาณจะไปสิงสถิตอยู่ตามพระธาตุเจดีย์ต่างๆ ตามปีที่เกิด และขณะที่ยังมีชีวิตอยู่หากได้ไปนมัสการพระธาตุประจำเกิดถือได้ว่าเป็นบุญกุศลและทำให้อายุมั่นยืนยาว สำหรับพระธาตุวัดเกตถือเป็นธาตุประจำคนเกิดปีจอ แทนพระเกศแก้วจุฬามณีบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ จากศิลาจารึกวัดเกตุ ซึ่งตั้งอยู้บนมุขบันไดด้านใต้ ของพระวิหารรุบุว่า มังนรข่าฉ่อ เจ้าผู้ครองเชียงใหม่ (พ.ศ.๒๑๒๑-๒๑๕๐) โปรดให้บูรณะปฏิสังชรณ์พระเจดีย์ที่พังลงมา เริ่มพ.ศ.๒๑๒๑ เสร็จ ๒๑๒๕ โปรดให้ถวายกัลปนาคนเป็นข้าวัดจำนวนมาก สมัยรัตนโกสินทร์บริเวณนี้ได้กลายเป็นย่านที่อยู่อาศัยของคนต่างชาติส่วนใหญ่เป็นชาวจีน
I copy from the stone sign in Ketkaram temple tells This temple is ancient temple located on the est sied of the Mae Ping river. According to the chronological records, wes built in 1971B”E” during which time (1954-1995B.E) When Prajao sam fang Kan, the king of the Meng Rai dynasty was ruiling the region.
Formerly, the pagody was called ‘pra thad ket kaew jula manee’ where the relic of Load Buddha was kept. It’s believed that the pagoda represents the original one in the topmost heaven(Daowadueng) on earth. The spire of the pagoda was purposely made tilted in order to void indecency by pointing it to the one in heaven.
It is further believed that all human beings, when pass away, their souls will remain at the pagoda depending on the animal signs of the years they were born. While still living, it would be auspicious thoughout their lives to worship the pagodas, which dwell the same animal birth signs of their own. Wat ket’s pagoda represents the birth sign of dog.
From the stone of records whice is standing at the top of the stairs on the southern part of the main service hall(Vihan), Mung Noratha Chor, who was the ruler of Chiangmai between 2121-2150 B.E.commanded a restoration to the tumbledown pagoda of Wat Ket’s the restoration bagan in 2121 B.E. and the task finished in 2124 B.E. he then ordered for a gran celebration and recruited a large number of people to serve in the temple. In the bebinging of the Rattanakosin Dynasty, there were many foreigners who had different cultures and religions lived around Wat Ket area. The majority of these inhabitants were the Chinese merchants.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น